รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 3 ของไทย จัดร่างโดยสภาผู้แทนราษฎร และประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 และถูกยกเลิกเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 โดยคณะรัฐประหารอันมี พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ นายทหารกองหนุน เป็นหัวหน้าคณะ รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 1 ปี 5 เดือน 28 วันรัฐธรรมนูญฉบับนี้กำหนดให้มีพฤฒิสภา (วุฒิสภา) ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยกำหนดให้มีสมาชิกในสภานี้ทั้งสิ้น 80 คน

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489

ผู้ยกร่าง สภาผู้แทนราษฎร
วันลงนาม 9 พฤษภาคม 2489[2]
วันเริ่มใช้ 10 พฤษภาคม 2489
วันประกาศ 10 พฤษภาคม 2489
ผู้ลงนาม สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
ท้องที่ใช้ ราชอาณาจักรไทย
ผู้ตรา สภาผู้แทนราษฎร
ผู้ลงนามรับรอง ปรีดี พนมยงค์
(นายกรัฐมนตรี)
วันลงนามรับรอง 9 พฤษภาคม 2489
ชื่อร่าง ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

ใกล้เคียง

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511